มาดูกันว่าส่วนต่างๆ ของร่างกายเรา ส่วนไหนมีหน้าที่ดูดซึม สารอาหารไปใช้ได้อย่างไร
- ลำไส้เล็ก ทำหน้าที่ในการดุดซึม กลุ่มของสารอาหาร ที่จะไปสร้างกรดอะมิโน ได้แก่สารอาหาร โปรตีน วิตามินซี วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีสาม วิตามินบีหก เพื่อนำไปใช้ในการสร้างเซล์ใหม่ๆ ในร่างกายของเรา เช่น เซลล์ประสาท เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์กระดูด เป็นต้น
- ลำไส้ใหญ่ ทำหน้าที่ในการดูดซึม กลุ่มของสารอาหาร ที่จะนำไปสร้างเม็ดเลือด ได้แก่ พวก วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี เพื่อไปสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ ให้กับร่างกาย
- ถ้าลำไส้เล็กดูดซึมสารอาหารไม่หมด ก็จะส่งต่อให้กับไต
ไต ซึ่งมีหน้าที่ในการกรองเลือด ว่าเม็ดเลือดไหนหมดอายุ ก็จะจัดการกรองออกไป ส่วนเม็ดเลือดที่ยังไม่หมดอายุ ก็จะส่งคืนกลับไปใช้ใหม่ หมุนเวียนภายในร่างกาย และอื่นๆ อีกมากมาย
อาหารที่ควรควบคุม สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคไต
- งดอาหารที่มีเกลือโซเดียมมาก
- งดอาหารที่มีรสเค็ม ไม่ว่าจะปรุงด้วย เกลือ น้ำปลา ซีอิ้ว ผงชูรส
- จำกัดโปรตีน โดยในแต่ละวัน ควรจะรับประทานอาหาร จำพวกเนื้อสัตว์ เพียงปริมาณวันละเท่า 1 ผ่ามือก็พอ แต่สำหรับ ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเนฟโฟรติกมีการสูญเสีย โปรตีนในปัสสาวะ ให้ใช้วิธีการรับประทานโปรตีน คุณภาพสูงเข้าไปทดแทน คือให้เลือก รับประทานเฉพาะไข่ขาว ในระหว่างที่ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ซึ่งวิธีนี้ จะใช้ได้ดีกว่าการที่ผู้ป่าย รับประทานอาหารที่มีโปรตีนมากๆ ทั้งนี้ก็ เพื่อเป็นการป้องกันการสูญเสียทางไตเอาไว้ก่อน ขอแนะนำให้ รับประทานไข่ขาววันละ 4-5 ฟองจะช่วยทดแทนโปรตีนที่สูญเสียไปกับปัสสาวะของผู้ป่ายโรคไต ในแต่ละวันได้ และหากตรวจพบว่าไม่มีโปรตีนรั่วออกมาทางปัสสาวะแล้วก็ให้งด รับประทานไข่ขาว
- งดสารปนเปื้อนในอาหาร โดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นสังเคราะห์ สีผสมอาหาร รสชาติสังเคราะห์ สารกันบูด กันเชื้อรา ฯลฯ เนื่องจากสารดังกล่าว ล้วนแล้วต้องเป็นภาระให้ไตทำงาน ขับสารเหล่านี้ออกจากร่างกายทั้งสิ้น
ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื่อรัง ควรจะลดอาหารเค็ม เนื่องจากร่างกาย ของผู้ป่วยโรคไต จะไม่สามาระขับเกลือออกจากร่างกายได้ตามปกติ เมื่อมีเกลือในร่างกายมากก็จะทำให้มันอุ้มน้ำเอาไว้มากเกินไป จนผู้ป่วยมีอาการร่างกายบวม และความดันโลหิตสูง
สมุนไพรบำรุงรักษาโรคไต
- กระชายเหลืองธรรมดา ประมาณ 1 กิโลกรัม ใส่น้ำลงไปให้มากๆ แล้วปั่นผสมกับใบโหระพา รินเอาแต่น้ำใส ทำทีละมากๆ สามารถเก็บแช่ตู้เย็นไว้ดื่มได้ (ไม่ต้องต้มนะค่ะ)
- หญ้าใต้ใบทั้งต้น นำไปตัมกับน้ำจนเดือด เคี่ยวอย่างน้อย 15 - 20 นาที ใช้ดื่ม เพื่อกระตุ้นสมรรถภาพของไต ได้เป็นอย่างดี
- ต้นหญ้าหนวดแมว นำไปหั่นแล้วตากแดดให้แห้ง ไว้ชงกินแทนน้ำชา แก้กระษัย ขับปัสสาวะ ทำให้ไตมีสมรรถภาพ ดื่มเป็นประจำรับรองได้ผลเป็นอย่างดี
- มะระขี้นก ผลใช้เป็นยาขม ทำให้เจริญอาหาร บำรุงน้ำดี ได้เป็นอย่างดี